ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕
บัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
ส่วนที่ ๑. ตำแหน่ง
ตำแหน่งทางวิชาการ | อาจารย์ |
สังกัด | สาขาวิชาปรัชญา คณะพุทธศาสตร์ |
ประจำบัณฑิตศึกษา | |
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ |
ส่วนที่ ๒. ประสบการณ์การสอน ๓ ปี ย้อนหลัง (๒๕๖๒-๒๕๖๔)
ระดับปริญญาตรี
ที่ | วิชา | มหาวิทยาลัย |
---|---|---|
๑. | ศาสนาเปรียบเทียบ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
๒. | ปรัชญาเบื้องต้น | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
ระดับปริญญาโท
ที่ | วิชา | มหาวิทยาลัย |
---|---|---|
๑. | จริยศาสตร์วิเคราะห์ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
๒. | สัมมนาวิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
๓. | สัมมนาปรัชญาศาสนา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
๔. | พุทธปรัชญา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
ระดับปริญญาเอก
ที่ | วิชา | มหาวิทยาลัย |
---|---|---|
๑. | พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการตีความ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
๒. | การใช้ภาษาบาลี ๑-๒ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
๓. | ระเบียบวิธีวิจัยชั้นสูง | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
๔. | สัมมนาพระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
ส่วนที่ ๓ ผลงานทางวิชาการ ๕ ปีย้อนหลัง (๒๕๖๐-๒๕๖๔)
๓.๑ งานวิจัย
๑) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์ (๒๕๖๐), การสืบค้น และจัดระบบการอนุรักษ์เอกสารคัมภีร์โบราณของจังหวัดเชียงใหม่-ลำพูน,ทุนวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (หัวหน้าวิจัย) (จำนวน ๔๑๒ หน้า)
๒) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์ วิจัยเรื่อง, (๒๕๖๐) การสืบค้น และจัดระบบการอนุรักษ์เอกสารคัมภีร์โบราณของจังหวัดพะเยา, ทุนวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (หัวหน้าวิจัย) (จำนวน ๒๐๔ หน้า)
๓) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์ และคณะ. (๒๕๖๓). งานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการสอนแบบบูรณาการ ของครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจังหวัดเชียงใหม่” ทุนวิจัย จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (จำนวน ๒๗๖ หน้า)
๓.๒ หนังสือ/ตำรา
๓.๓ การเขียนบทความทางวิชาการ
๑) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์,ภูมิปัญญานครน่าน: เอกสารโบราณอันซีนเมืองน่าน,วารสารปณิธาน,ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๑ หน้า ๑-๒๘, (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๐) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
๒) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์และคณะ, เมื่อชาง : เซียมซีฉบับใบลานล้านนา, วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ หน้า ๒๕๔-๒๗๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๒) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
๓) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์ และคณะ,“วิเคราะห์สถานะและบทบาทของสตรีกับความมั่นคงของพระพุทธศาสนา”, แหล่งที่ตีพิมพ์ วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่,ปีที่ตีพิมพ์ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๕ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๔ หน้า ๔๒๔- ๔๓๑, TCI ฐาน ๑
๔) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์และคณะ, พุทธจริยธรรมในการประกอบการธุรกิจประกันชีวิต, ปีที่ตีพิมพ์ ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒ แหล่งที่ตีพิมพ์ วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา บัณฑิตศึกษา มจร วิทยาเขตเชียงใหม่, หน้า ๓๖๑-๓๗๗, TCI ฐาน ๑
๕) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์และคณะ.แนวทางการประยุกต์หลักพุทธธรรมเพื่อเตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างเป็นสุข, ปีที่ตีพิมพ์ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ (มีนาคม ๒๕๖๓), แหล่งที่ตีพิมพ์ วารสาร สังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, หน้า ๑๓๖-๑๔๘, TCI ฐาน ๑
๖) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์และคณะ, แนวทางการส่งเสริมอัตลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีเชิงพุทธล้านนาของจังหวัดลำปาง, ปีที่ตีพิมพ์ ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒) แหล่งที่ตีพิมพ์ วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่, หน้า ๔๒๙-๔๔๖, TCI ฐาน ๑.
๗) ดร.พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์และคณะ,“วิเคราะห์สถานะและบทบาทของสตรีกับความมั่นคงของพระพุทธศาสนา”, แหล่งที่ตีพิมพ์ วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่,ปีที่ตีพิมพ์ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๕ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๔ หน้า ๔๒๔-๔๓๑, TCI ฐาน ๑
๘) Phra Nakorn Pannavajiro, Phra Kru Baidikatippanakorn Jayabhinando, Phisit Kotsupho (๒๕๖๓) The Folk Beliefs on the Past Buddhas in Lan Na Buddhist Arts ,สัมมนาทางวิชาการ ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๒ ใน ชื่อ“พระพุทธศาสนากับความ รับผิดชอบทางสังคมนววิถี” The 2nd National and International Buddhist Conference on “Buddhism and Social Responsibility in the New Normal” (BUSRIN) ระหว่างวันที่ ๑๙ – ๒๐ กันยายน ๒๕๖๓ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ หน้าที่ ๙๔-๑๑๕